หน่วยที่ 1 การวางแผนพัฒนาท้องถิ่น
1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2564) และหรือ (พ.ศ.2561-2565)
1. รายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและคณะกรรมการการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (รายงานการประชุมสภา อบต. สำหรับ อบต.)
2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการนำโครงการการบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะมาจัดทำเป็นงบประมาณรายจ่าย
1. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2564) และหรือ (พ.ศ.2561-2565)
2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือ
เพิ่มเติม
3. การใช้เงินสะสม/เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ฯลฯ
4. การโอนตั้งจ่ายเป็นรายการใหม่/โอนเพิ่ม เปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณสำหรับการพัฒนาท้องถิ่น
3. แผนพัฒนาท้องถิ่นมีความเชื่อมโยงหรือสอดคล้องยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2564) และหรือ (พ.ศ.2561-2565)
2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือเพิ่มเติม
3. การใช้เงินสะสม/เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ฯลฯ
4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแนวทางการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
1. รายงานการประชุมคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผน
2. รายงานการประชุมสภาท้องถิ่น
3. รายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น
4. ประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น โดยผู้บริหารท้องถิ่น
5. องค์การบริหารส่วนจังหวัดนำโครงการพัฒนาในแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2564) และหรือ (พ.ศ.2561-2565) ที่ได้ผ่านกระบวนการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอ/ระดับจังหวัด มาดำเนินการโดยใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี/เพิ่มเติมหรือเงินนอกงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562
4. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือเพิ่มเติม
5. การใช้เงินสะสม/เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ฯลฯ
6. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการนำยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) มาเป็น กรอบในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น และข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
1. แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2564) และหรือ (พ.ศ.2561-2565) ที่แสดงถึงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
2. โครงการ/กิจกรรมในข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายที่แสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
หน่วยที่ 2 การจัดทำฐานข้อมูล
7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบันทึกข้อมูลตามฐานข้อมูลสำคัญตามกรอบระยะเวลา
1. มีการบันทึกข้อมูลตามฐานข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศของกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่องทุกระบบ ตามแนวทางที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด
2. การบริหารจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (มฝ.1, มฝ.2) บันทึกและรับรองในระบบสารสนเทศด้านการจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นปัจจุบัน
3. ระบบข้อมูลกลางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (INFO) ให้เป็นปัจจุบัน และผ่านการรับรองความถูกต้องจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเรียบร้อยแล้ว
หน่วยที่ 3 การจัดการข้อร้องเรียน
8. ร้อยละของข้อร้องเรียนต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดำเนินการสำเร็จลุล่วง
1. มีการมอบหมายสำนัก/กอง/ฝ่าย/เจ้าหน้าที่ รับผิดชอบและมีคำสั่งแต่งตั้ง
2. ทะเบียนรับเรื่องร้องเรียน
3. หลักฐานการรางานผลให้ทราบภายใน 15 วัน
9. ร้อยละของข้อร้องเรียนที่มาจากศูนย์ดำรงธรรมที่ดำเนินการสำเร็จลุล่วง
1. มีการมอบหมายสำนัก/กอง/ฝ่าย/เจ้าหน้าที่ รับผิดชอบและมีคำสั่งแต่งตั้ง
2. ทะเบียนรับเรื่องร้องเรียน
3. หลักฐานการรางานผลให้ทราบภายใน 15 วัน
4. ข้อมูลศูนย์ดำรงธรรมอำเภอหรือจังหวัด
หน่วยที่ 4 การบริการประชาชน
10. การอำนวยความสะดวกในการบริการประชาชน เพื่อมุ่งสู่ประโยชน์สุขของประชาชนผู้รับบริการและมีประสิทธิภาพอย่างเป็นระบบ
1. การจัดสถานที่ หรือสิ่งอำนวยความสะดวกตามหัวข้อเกณฑ์การประเมินด้วยข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นและสามารถพิสูจน์ได้ในระดับหนึ่ง (เป็นที่ยอมรับได้)
2. แบบคำร้อง คำสั่งให้เจ้าหน้าที่บริการล่วงเวลา/พักเที่ยง หรือวันหยุดราชการหลักฐานการใช้บริการในช่วงเวลาดังกล่าว
3. ตรวจสอบสัญญาณ WiFi ของ อปท. การจัดมุมอินเทอร์เน็ต
4. เอกสารประเมินความพึงพอใจ ฯลฯ
11. ช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่จะติดต่อสอบถามหรือขอข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. คู่มือสำหรับประชาชนที่ อปท. จัดทำขึ้น
2. ตรวจสอบสัญญาณ WiFi ของ อปท. การจัดมุมอินเทอร์เน็ต
3. เอกสารประเมินความพึงพอใจ
4. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางเว็บไซต์ของ อปท
12. การประเมินความพึงพอใจของประชาชน ณ จุดบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Citizen-Feedback)
1. หลักฐานแบบประเมินความพึงพอใจ
2. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจที่ประมวลผลเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
3. เอกสารหรือรายการหรือวัสดุหรือครุภัณฑ์ที่แสดงให้เห็นถึงการให้คะแนนและแสดงความคิดเห็นของประชาชน เพื่อให้มีการปรับปรุงบริการของ อปท.
4. มีและใช้อุปกรณ์อ่านบัตรแบบอเนกประสงค์ (Smart Card Reader) ในการบริการประชาชน
หน่วยที่ 5 ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
13. การประเมินผลการควบคุมภายใน ระดับหน่วยงานของรัฐ ตามแบบ ปค. 1 แบบ ปค.4 แบบ ปค. 5 และแบบ ปค. 6
1. รายงานระดับหน่วยงานของรัฐ ตามแบบ ปค. 1 แบบ ปค. 4 แบบ ปค. 5 และแบบ ปค. 6
2. หนังสือนำส่งรายงานให้ผู้กำกับดูแล
14. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีผู้ตรวจสอบภายในหรือมอบหมายให้มีผู้ปฏิบัติหน้าที่ ผู้ตรวจสอบภายในและปฏิบัติงานตรวจสอบเป็นไปตามที่หลักเกณฑ์ฯ กำหนด
1. ข้อมูลอัตรากำลังตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน (กรณีมีผู้ดำรงตำแหน่ง ผู้ตรวจสอบภายใน)
2. คำสั่งมอบหมายให้มีผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจสอบภายใน (กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง ผู้ตรวจสอบภายใน)
3. แผนการตรวจสอบภายในประจำปี
4. รายงานผลการตรวจสอบ
หน่วยที่ 6 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
หน่วยย่อยที่ 1 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
15. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการจัดทำข้อตกลง ในการปฏิบัติราชการระหว่าง ส่วนราชการกับผู้บริหารท้องถิ่น
1. มีหนังสือ/เอกสาร เป็นข้อตกลงในการปฏิบัติราชการ
2. มีรายงานผลการปฏิบัติราชการ
3. มีเอกสารการลงนามของผู้มีอำนวยการสำนัก/กอง/ฝ่ายและข้าราชการ พนักงานจ้าง ลูกจ้างประจำ ได้ลงนามทราบทุกคน
16. มีการวิเคราะห์และสรุปผลการประเมินผล การปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเข้าที่ประชุมคณะกรรมการประเมินผลตามหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีบุคคลภายนอกร่วมเป็นกรรมการ
1. คำสั่ง/ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลฯ ที่มีผู้แทนชุมชน องค์กร ภาคประชาชน ภาคเอกชน ร่วมเป็นกรรมการ ที่เป็นปัจจุบัน
2. รายงานการประชุมคณะกรรมการประเมินผลฯ
3. รายงานผลการประเมินผลและเสนอ แนวทางการแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน ให้ครบทั้ง 4 ด้าน
4. ผู้บริหารพิจารณาผลการประเมินและสั่งการ เสนอแนวทางการแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน
หน่วยย่อยที่ 2 ผลคะแนนการประเมินประสิทธิภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA)
17. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีผลคะแนน LPA โดยรวมเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา
1. ผลคะแนนการประเมินประสิทธิภาพของ อปท. (LPA) ปี 2561 เทียบกับปี 2562
หน่วยที่ 7 การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน
18. การมอบอำนาจการตัดสินใจ เพื่อปฏิบัติราชการ
1. หนังสือหรือคำสั่งมอบอำนาจ พร้อมบัญชีการมอบอำนาจแนบท้าย (ไม่ใช่คำสั่งรักษาราชการแทน) ที่เป็นปัจจุบัน
2. การมอบอำนาจต้องเป็นเรื่องที่มีผลโดยตรงต่อประชาชนและเป็นอำนาจของผู้บริหาร อปท.
3. จำนวนหรือร้อยละของหนังสือ หรือคำสั่งมอบอำนาจที่ปฏิบัติจริงโดยการลงนามของ ผู้ได้รับมอบอำนาจ อย่างน้อยร้อยละ 80
19. มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือโทรคมนาคมเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1. มีและใช้อุปกรณ์อ่านบัตรแบบอเนกประสงค์ (Smart Card Reader) ในการบริการประชาชน
2. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางเว็บไซต์ ของ อปท.
3. ตรวจสอบข้อเท็จจริงที่มีอยู่จริง เช่น มี wifi ใช้งานจริงหรือไม่ หรือมีการใช้โปรแกรม อนุมัติงานก่อสร้างจริงหรือไม่ เป็นต้น
20. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการบูรณาการ (Intergration) โครงการเพื่อพัฒนาท้องถิ่นตามอำนาจหน้าที่ ร่วมกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่น หรือร่วมกับหน่วยงานอื่น
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการที่มีการดำเนินการจริงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
หน่วยที่ 8 การปรับปรุงภารกิจ
21. ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา (2560 – 2562) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงยกเลิกภารกิจ หรือข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
1. คำสั่ง/ประกาศแต่งตั้งคณะทำงาน
2. รายงานการประชุมคณะทำงาน
3. บันทึกเสนอผู้บริหารเอกสารแสดงการขับเคลื่อนการดำเนินงานหลังจากการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกภารกิจ หรือข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ เสนอผู้บริหารพิจารณา
หน่วยที่ 9 การดำเนินงานตามนโยบายของจังหวัด
22. (ตัวอย่าง) จำนวนกิจกรรม ที่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ดำเนินการในโครงการ (ระบุโครงการหรือกิจกรรมให้ชัดเจน)
1. ข้อมูลการประสานหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้องเช่น ที่ทำการปกครองอำเภอ/จังหวัด สาธารณสุขอำเภอ/จังหวัด สถานีตำรวจในพื้นที่
2. สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น ป้าย แผ่นพับ เว็บไซต์ ภาพถ่าย วารสาร ใบปลิว จดหมายข่าว
3. โครงการ/กิจกรรมที่แสดงถึงเกณฑ์การประเมินที่ได้กำหนดไว้
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
หน่วยที่ 1 ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์
24. การจัดทำแผนอัตรากำลังสามปี
1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลังว่าได้ระบุเลขที่คำสั่งหรือไม่และระบุคำสั่งเลขที่เท่าใด
2. หนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลังหรือเอกสารที่อ้างอิงว่าได้มีการแจ้งให้มีการประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลัง
3. รายงานการประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลัง ที่ได้แนบไว้ในเล่มแผนอัตรากำลังสามปี ประจำปี 2561 - 2563 (มีบันทึกการประชุมที่แสดงให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมการตัดสินใจด้วยกันอย่างชัดเจน)
4. มติ ก.จังหวัด ในครั้งที่มีการพิจารณาแผนอัตรากำลังของ อปท.
25. การออกคำสั่งด้านการบริหารงานบุคคล
1. ประกาศกำหนดส่วนราชการและอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ
2. คำสั่งมอบหมายหน้าที่การงานให้ ข้าราชการของแต่ละส่วนราชการ
3. คำสั่งแต่งตั้งผู้ปฏิบัติราชการแทนปลัด/ผอ. ของแต่ละส่วนราชการ
4. คำสั่งแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนของส่วนราชการ (โดยตรวจสอบตัวบุคคลในคำสั่ง กับในคำสั่งที่มีอยู่จริง)
5. คำสั่งแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนปลัด อปท. เป็นไปตามหลักเกณฑ์กำหนด คือ ให้รองปลัดรักษาราชการแทนปลัด กรณีไม่มีรองปลัดให้แต่งตั้งผู้อำนวยการ(สำนัก/กอง/ส่วน) เป็นผู้รักษาราชการแทน
6. คำสั่งมอบหมายหน้าที่การงานให้รองปลัดปฏิบัติหน้าที่ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
26. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) โดยการอบรมหรือฝึกอบรมบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. เอกสารการวิเคราะห์สภาพปัญหา และความต้องการของบุคลากร ที่ผู้บริหารท้องถิ่นได้ ลงนาม และประกาศเพื่อทราบ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนพัฒนาบุคลากรประจำปี
3. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
27. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) โดยการส่งบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ารับการอบรมหรือฝึกอบรม
1. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562
2. คำสั่ง/อนุญาต/อนุมัติหนังสือส่งตัวบุคลากร
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
28. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) บุคลากรทุกสายงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในสายงาน เฉลี่ยร้อยละ ของสายงานที่มีในแผนอัตรากำลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. แผนอัตรากำลังสามปีที่ใช้อยู่เป็นปัจจุบัน และมีอัตรากำลังที่มีอยู่จริง
2. เอกสารที่รับรองว่าผ่านการฝึกอบรมจากหน่วยที่จัด เช่น ใบประกาศ/วุฒิบัตร หนังสือรับรองหรืออื่น ๆ ปีพ.ศ. 2562
3. ตรวจสอบเฉพาะข้าราชการ/พนักงานเทศบาล/พนักงานส่วนตำบลเท่านั้น
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
29. การจัดทำมาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. มีประกาศหลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม
2. มีจัดทำประกาศหลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ
3. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
30. การส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม รวมถึงการป้องกันการกระทำผิดจริยธรรม
1. ประกาศเจตนารมณ์การป้องกัน และต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น
2. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
4. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางเว็บไซต์ ของ อปท.
หน่วยที่ 2 ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล
31. ข้อมูลตำแหน่งในแผนอัตรากำลังสามปี
1. แผนอัตรากำลังสามปีที่ใช้อยู่เป็นปัจจุบัน
32. ข้อมูลข้าราชการ พนักงานเทศบาล พนักงานส่วนตำบล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้างตามภารกิจ
1. ทะเบียนประวัติแนวทางในการตรวจสอบ
2. การบันทึกประเภท ระดับและวันเกษียณอายุของจำนวนพนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้างประจำ ไม่รวมพนักงานจ้าง
3. ข้อมูล ณ วันที่ทีมประเมินฯ เข้าตรวจ
4. การบันทึกข้อมูลของ อปท. ในระบบ
33. หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการ พนักงานเทศบาล พนักงานส่วนตำบล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้างตามภารกิจ
1. ตรวจสอบความสำเร็จของการเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้าราชการ
2. เอกสารการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมินประสิทธิภาพและประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติราชการของพนักงานส่วนท้องถิ่นและลูกจ้างประจำ
3. เอกสารการประชุมคณะกรรมการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/เลื่อนขั้นค่าจ้าง
4. สุ่มสอบถามตามข้อ 2 และข้อ 3 เป็นรายบุคคลว่ามีความโปร่งใสและเป็นธรรมอย่างไร อย่างน้อยรวมกันแล้ว 3 คน
34. การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น
1. การคำนวณวงเงินร้อยละ 3 ที่สามารถจะใช้เลื่อนเงินเดือนข้าราชการ หรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น ทั้งหมดที่มีตัวอยู่จริง (รวมผู้ที่ไปช่วย ราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือส่วนราชการอื่นด้วย) ให้ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 1 มีนาคม หรือ วันที่ 1 กันยายน แล้วแต่กรณี
2. จำนวนร้อยละที่จะไว้ใช้ในการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการหรือพนักงานครู และบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น แต่ละคนในแต่ละครั้งไม่เกินร้อยละ 6 ของฐาน ในการคำนวณของแต่ละคน
3. มีการประกาศอัตราร้อยละของฐานในการคำนวณที่ได้ใช้เป็นเกณฑ์ในการคำนวณเพื่อเลื่อนเงินเดือน ต้องประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไปอย่างช้าที่สุดพร้อมกับการมีคำสั่งเลื่อนเงินเดือน
4. การเกลี่ยเงินจะต้องเกลี่ยภายในกลุ่มอันดับเงินเดือนเดียวกันเท่านั้น
5. ผู้ได้รับเงินเดือนถึงขั้นสูงของอันดับมีการ ออกคำสั่งให้ได้รับเงินเดือนสูงกว่าขั้นสูงของอันดับเงินเดือนตามที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. กำหนดก่อน จึงจะออกคำสั่งเลื่อนเงินเดือน รอบใหม่
6. หนังสือแจ้งผลการเลื่อนเงินเดือน
35. การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น
1. การแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงานมีการแต่งตั้งเป็นไปตามประกาศหลักเกณฑ์และเงื่อนเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่นหรือไม่
2. การใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทาง การศึกษาส่วนท้องถิ่น
- สายงานการสอน
- สายงานบริหารสถานศึกษา
- สายงานนิเทศการศึกษา
3. การแจ้งผลการประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทาง การศึกษาส่วนท้องถิ่น
36. ระยะเวลาการออกคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือเลื่อนเงินเดือน และระยะเวลาการบันทึกข้อมูลคำสั่ง
1. ความสำเร็จของการออกคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือเลื่อนเงินเดือน และการบันทึกคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือเลื่อนเงินเดือน ในระบบทะเบียนประวัติ ก.พ.7 ของข้าราชการ ครู ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้าง ในระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (LHR)
37. มีการควบคุมการลงเวลาปฏิบัติราชการ เข้าและออกของข้าราชการ พนักงานเทศบาล พนักงานส่วนตำบล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้าง (ตามภารกิจ/ทั่วไป/อื่น ๆ)
1. ตรวจสอบความสำเร็จของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็นเครื่องมือในการควบคุมเวลาการปฏิบัติราชการ และนำข้อมูลเวลาการปฏิบัติราชการไปประกอบการพิจารณาความดีความชอบ
38. การบันทึกข้อมูลในระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (LHR)
1. ตรวจสอบความสำเร็จการบันทึกข้อมูลทะเบียนประวัติ ก.พ. 7 ของข้าราชการ ครู ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้าง ในระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (LHR)
หน่วยที่ 3 คุณภาพชีวิตและความสมดุลของชีวิตกับการทำงาน
39. การทำงานขององค์กรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใช้หลักการบริหารงานบุคคลท้องถิ่น ตามประกาศหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล
1. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปี พ.ศ. 2562
2. ตรวจสอบการรักษาสภาพแวดล้อมในการทำงานและบรรยากาศที่สนับสนุนให้ข้าราชการลูกจ้าง มีความสุขพึงพอใจและมีแรงจูงใจในการทำงาน
3. มีรายงานการประชุมบุคลากร เพื่อพัฒนาสถานที่ทำงานให้ Clean & Green
4. มีการจัดกลุ่มในการทำงาน สร้างความร่วมมือร่วมใจในการทำงาน เช่น กิจกรรม 5 ส.
40. ผู้บริหารท้องถิ่นมีการประเมินความพึงพอใจและแรงจูงใจของบุคลากร
1. แบบประเมินความพึงพอใจและแรงจูงใจ
2. ตรวจสอบการรักษาสภาพแวดล้อมในการทำงานและบรรยากาศที่สนับสนุนให้ข้าราชการลูกจ้าง มีความสุขพึงพอใจและมีแรงจูงใจในการทำงาน
3. ตรวจสอบเฉพาะข้าราชการ/พนักงานเทศบาล/พนักงานส่3. มีบันทึกหรือหนังสือหรือแผนงานที่ผู้บริหารท้องถิ่นแจ้งบุคลากรให้ทราบถึงการปรับปรุงงาน เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการทำงาน
4. มีเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการทำงาน
หน่วยที่ 4 ความรับผิดชอบและประสิทธิผลการบริหารทรัพยากรบุคคล
41. การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรเพื่อประกอบการบริหารงานบุคคลในหลักประสิทธิผล
1. ต้องมีการประเมินถูกต้องตามประกาศ ก.จังหวัดภายใต้หลักเปิดเผยโปร่งใส มีประสิทธิภาพ
2. ให้ตรวจสอบแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน และรายงานการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองให้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักเกณฑ์
42. การเสริมสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการ รักษาวินัย
1. โครงการ/กิจกรรมในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562
2. เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินการสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการรักษาวินัย
3. มติ ก. จังหวัด หรือหนังสือ/คำสั่ง ของ อปท. ที่เกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
หน่วยที่ 5 การดำเนินกิจการสภาท้องถิ่น
43. การบันทึกข้อมูลผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นในระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่น ให้ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
1. ระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่นและทะเบียน อปท. โดยตรงที่เว็บไซต์ http://ele.dla.go.th ข้อมูล ณ วันที่ตรวจสอบ
2. จนท. ผู้รับผิดชอบเปิดข้อมูลจากรหัสผู้ใช้งานและรหัสผ่านของ อปท. นั้น ๆ
44. ในปี พ.ศ. 2562 ผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหารท้องถิ่นได้มาร่วมประชุมสภาสมัยสามัญทุกสมัยและทุกครั้ง (ยกเว้นกรณีการประชุมที่มีการพิจารณาญัตติที่เกี่ยวข้องกับสภาท้องถิ่นโดยตรงไม่เกี่ยวข้องกับผู้บริหารท้องถิ่น)
1. ตรวจสอบจากรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น สมัยสามัญ ทุกสมัยและทุกครั้ง
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
45. การอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานและ มีการจัดเอกสารเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่สำคัญให้แก่สภาท้องถิ่น
1. สอบถามและตรวจสอบเกี่ยวกับสถานที่วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ และบุคลากรว่ามีความพร้อม ที่จะอำนวยความสะดวกแก่การปฏิบัติของสภาท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ อย่างไร
2. ตรวจสอบเอกสารที่จัดไว้ ประกอบด้วยกฎหมาย ระเบียบที่แก้ไขถึงปีปัจจุบัน และตรวจสถานที่ประชุม
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
46. การพัฒนาความรู้ให้แก่สมาชิกสภาท้องถิ่น
1. คำสั่ง/หนังสือที่ผู้บริหารเห็นชอบให้เข้ารับการพัฒนาความรู้
2. รายงานผลการพัฒนาความรู้ที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
47. การกำหนดสมัยประชุมสามัญ การเรียกประชุมสภาสมัยสามัญ และการนัดประชุมสภาสมัยสามัญ นัดแรกของแต่ละสมัย
1. การกำหนดสมัยประชุมสามัญ การเรียกประชุมสภาสมัยสามัญ และ การนัดประชุมสภาสมัยสามัญนัดแรกของ แต่ละสมัย
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
48. การส่งสำเนาร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1. มีหนังสือเสนอร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จากเจ้าหน้าที่งบประมาณและผู้บริหารท้องถิ่นลงนามรับทราบ
2. มีหนังสือผู้บริหารท้องถิ่น เสนอญัตติร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ให้กับประธานสภาท้องถิ่น
3. มีหนังสือประธานสภาท้องถิ่น ส่งร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ให้สมาชิกสภาท้องถิ่น
49. การตั้งคณะกรรมการแปรญัตติพิจารณา ร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2562
1. การตั้งคณะกรรมการแปรญัตติพิจารณา ร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณ
2. มีเอกสารบันทึกการประชุมเพื่อเลือกประธานคณะกรรมการแปรญัตติและเลขานุการ คณะกรรมการแปรญัตติ
50. การกำหนดระยะเวลาเสนอคำแปรญัตติต้องไม่น้อยกว่ายี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่สภาท้องถิ่น มีมติรับหลักการแห่งร่างข้อบัญญัติ/ เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
1. บันทึกรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น
2. บันทึกการประชุมคณะกรรมการแปรญัตติ
51. การจัดทำรายงานของคณะกรรมการแปรญัตติตามข้อ 50 ของระเบียบกระทรวง มหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554
1. รายงานการประชุมสภาท้องถิ่นเมื่อครั้งที่มีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ในวาระที่ 2 ขั้นแปรญัตติและในวาระที่ 3 ขั้นลงมติ
2. เอกสารรายงานการประชุมสภาท้องถิ่นและการแปรญัตติของคณะกรรมการแปรญัตติ
52. สภาท้องถิ่นได้ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น
1. ตรวจสอบรายงานการประชุมสภาท้องถิ่นทุกครั้ง ในปี 2562
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
หน่วยที่ 1 การจัดเก็บรายได้
53. มีการออกข้อบัญญัติองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด จัดเก็บภาษี และค่าธรรมเนียมบำรุงองค์การบริหารส่วนจังหวัด จากการค้าน้ำมัน ยาสูบ และผู้เข้าพักในโรงแรม
1. ให้ตรวจสอบจากข้อบัญญัติ อบจ. เพื่อจัดเก็บรายได้ทั้ง 3 ประเภท
2. สำเนาใบเสร็จรับเงินที่แสดงว่าได้มีการจัดเก็บ
54. การรายงานสถิติการคลังท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ 2562 ภายในระยะเวลาที่กำหนด สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ตรวจสอบจาก วัน/เดือน/ปีที่ อปท.ได้รายงานข้อมูลสถิติการคลังปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ผ่านระบบฐานข้อมูลกลาง อปท. (INFO) ซึ่งจะต้องรายงานให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 ต.ค. 2562 และระบบฐานข้อมูลกลางจะปิดระบบการรายงานข้อมูลภายในวันที่ 1 ธ.ค. 2562
55. การประชาสัมพันธ์หลักเกณฑ์และวิธีการ จัดเก็บภาษี
1. ให้ตรวจสอบจากการประชาสัมพันธ์ การจัดเก็บภาษีในรูปแบบต่าง ๆ เช่น สื่อสังคมออนไลน์ เช่น Facebook Line ฯลฯ เว็บไซต์ จดหมายข่าว ป้ายประชาสัมพันธ์ สื่อสิ่งพิมพ์ หอกระจายข่าว/เสียงตามสาย/หน่วยประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ และจดหมายแจ้งผู้เสียภาษีโดยตรง เป็นต้น
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
56. จำนวนผู้ชำระภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุง องค์การบริหารส่วนจังหวัดจากน้ำมัน, ยาสูบ และผู้เข้าพักในโรงแรมต่อจำนวนผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระโดยรวมในปี 2562
ตรวจสอบจากทะเบียนคุมผู้ชำระภาษีทั้งหมด โดยนับจำนวนผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีและค่าธรรมเนียมทั้งหมด กับจำนวนผู้ที่ได้ชำระภาษีและค่าธรรมเนียมในปี 2562
57. การเพิ่มขึ้นของจำนวนเงินภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุงองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดจากน้ำมัน, ยาสูบ และผู้เข้าพักในโรงแรมโดยรวม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ตรวจสอบจำนวนเงินที่จัดเก็บได้จากรายรับจริงประกอบงบทดลองปีงบประมาณ 2561 และ 2562 ของภาษี 3 เรื่อง (ภาษีน้ำมัน ภาษียาสูบ และค่าธรรมเนียมจากผู้พักในโรงแรมแล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบ) ประกอบกับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5)
58. การเพิ่มขึ้นของจำนวนเงินที่จัดเก็บได้จากค่าธรรมเนียมในการให้บริการ ค่าธรรมเนียมอื่น ๆ รายได้จากการจัดหาประโยชน์ทรัพย์สิน และจากการดำเนินกิจการอื่นโดยรวม ยกเว้นภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุงองค์การบริหารส่วนจังหวัดจากน้ำมัน ยาสูบ และผู้เข้าพักในโรงแรม
ตรวจสอบจำนวนเงินที่จัดเก็บได้จากรายรับจริงประกอบงบทดลองปีงบประมาณ 2561 และ 2562 แล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบประกอบกับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5)
59. มีการออกข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติท้องถิ่น และได้จัดเก็บตามพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ.2535
มีการออกข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติท้องถิ่น และได้จัดเก็บตามพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ.2535
60. การรายงานสถิติการคลังท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ภายในระยะเวลา ที่กำหนดสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ตรวจสอบจากวัน/เดือน/ปีที่ อปท.ได้รายงานข้อมูลสถิติการคลังปีงบประมาณ 2562 ผ่านระบบฐานข้อมูลกลาง อปท. (INFO) ซึ่งจะต้องรายงานให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 ต.ค. 2562
61. การประชาสัมพันธ์หลักเกณฑ์และวิธีการจัดเก็บภาษี
1. ให้ตรวจสอบจากการประชาสัมพันธ์ การจัดเก็บภาษีในรูปแบบต่าง ๆ เช่น สื่อสังคมออนไลน์ เช่น Facebook Line ฯลฯ เว็บไซต์ จดหมายข่าว ป้ายประชาสัมพันธ์ สื่อสิ่งพิมพ์ หอกระจายข่าว/เสียงตามสาย/ หน่วยประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ และจดหมาย แจ้งผู้เสียภาษีโดยตรง เป็นต้น
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
62. การจัดทำแผนที่แม่บทเพื่อจัดทำแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. การจัดทำแผนที่แม่บทให้ตรวจสอบจากโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของ อปท. โดย อปท. อาจจะจัดทำแผนที่แม่บทครอบคลุม ทั้งพื้นที่หรือเพียงบางส่วนของพื้นที่ก็ได้
2. กรณี อปท. ได้จัดทำด้วยระบบมือ และระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ให้ถือว่าได้คะแนนในข้อนี้
3. กรณี อปท. จัดทำด้วยโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (LTAX GIS) ของ สถ. หรือด้วยโปรแกรมของหน่วยงานอื่น ให้ตรวจสอบการจัดทำแผนที่แม่บทในแต่ละขั้นตอนจากโปรแกรมฯ นั้นฯ ซึ่งจะต้องปรากฏข้อมูลแผนที่แม่บท
ตามขั้นตอนที่ (1) – (4)
63. ผลการคัดลอกข้อมูลที่ดิน เพื่อจัดทำแผนที่แม่บทเพื่อจัดทำแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. ในการคัดลอกข้อมูลที่ดิน อปท. จะต้อง ขอถ่ายเอกสารในสารบบที่ดิน (ทด.1 ทด.9 นส.5) หรือพิมพ์จากระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (LIS) ของ สำนักงาน ที่ดิน แล้วคัดลอกข้อมูลที่ดินลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ทุกแปลง และกำหนดรหัสแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บทที่ได้จัดทำเสร็จแล้ว
2. การตรวจสอบว่า อปท. มีจำนวนแปลงที่ดินจำนวนกี่แปลง โดยตรวจสอบจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท.
64. ผลการสำรวจข้อมูลภาคสนาม เพื่อจัดทำแผนที่แม่บทเพื่อจัดทำแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น
1. การสำรวจข้อมูลภาคสนาม หมายถึง อปท. จะต้องออกสำรวจรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินต่าง ๆ ของประชาชนในพื้นที่ โดยข้อมูลเกี่ยวกับที่ดินจะบันทึกลงในแบบ ผ.ท.1 ข้อมูลเกี่ยวกับโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้างจะบันทึกลงในแบบ ผ.ท.2 ข้อมูลเกี่ยวกับป้ายและการประกอบการค้าจะบันทึกลงในแบบ ผ.ท.3
2. การตรวจสอบว่า อปท. มีจำนวนแปลงที่ดินจากข้อมูลแผนที่แม่บท แต่ละแผนตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท.
3. ให้ตรวจสอบว่า อปท. ได้มีการสำรวจข้อมูลภาคสนามได้เป็นร้อยละเท่าไรของจำนวนแปลงที่ดินทั้งหมดตามข้อ 2
65. การนำทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) และทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5) ไปใช้เป็นข้อมูลในการประเมินภาษี
1. ให้ตรวจสอบว่า ภ.ร.ด.2, ภ.บ.ท.5 และ ภ.ป.1 มีการประทับตราข้อความว่าได้ตรวจสอบกับ ผ.ท.4 และ ผ.ท.5 หรือไม่
2. ให้ตรวจสอบว่า ผ.ท. 5 ของผู้อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีว่าได้มีการบันทึกข้อมูลการชำระภาษี (รับยื่นแบบประเมิน และชำระภาษี) และ ได้มีการติดสลิปสีเขียวหรือไม่
66. การปรับข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) ให้เป็นปัจจุบัน
1. ให้ตรวจสอบจากแบบบัญชีแสดงรายการปรับข้อมูล (ผ.ท.13) จากผู้ที่รับผิดชอบจากหน่วยงานคลัง และผู้บังคับบัญชาลงลายมือชื่อรับทราบ
2. ให้ตรวจสอบจากทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) ว่ามีการปรับปรุงข้อมูลตามแบบ ผ.ท.13 ตามข้อ 1 หรือไม่ (ข้อสังเกต) หากมีการปรับข้อมูลในทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) จะมีข้อมูลการปรับปรุง ดังนี้
2.1 มีรหัสแปลงที่ดินรหัสใหม่ขึ้นมา เช่น รหัสที่ดินเดิมเป็น 01A001 หากมีการปรับปรุงข้อมูลจะมีรหัสแปลงเพิ่มขึ้นมาเป็น 01A001/001 เป็นต้น
2.2 จะมีการขีดฆ่าข้อความเดิมด้วยปากกา สีแดงและเขียนข้อความใหม่
67. การปรับข้อมูลแผนที่ภาษี (ผ.ท.7) ให้เป็นปัจจุบัน
1. ให้ตรวจสอบจากแบบบัญชีแสดงรายการปรับข้อมูล (ผ.ท.13) จากผู้ที่รับผิดชอบจาก ฝ่ายช่าง และผู้บังคับบัญชาลงลายมือชื่อรับทราบ
2. ให้ตรวจสอบจากแผนที่ภาษี (ผ.ท.7) ว่า มีการปรับปรุงข้อมูลตามแบบรายงาน ผ.ท.13 ตามข้อ 1 หรือไม่
68. อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย และภาษีบำรุงท้องที่
ตรวจสอบจากทะเบียนคุมผู้ที่ได้ชำระภาษี 3 เรื่อง ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้ายในปีงบประมาณ 2561 และ 2562 แล้วนำมาคำนวณเปรียบเทียบประกอบกับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5)
70. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีลูกหนี้ผู้ค้างชำระภาษีเกินกว่า 3 ปี เป็นอัตราร้อยละของผู้ชำระภาษีปีปัจจุบัน
ตรวจสอบจากรายละเอียดลูกหนี้ผู้ค้างชำระเกิน 3 ปี เทียบกับรายละเอียดผู้ชำระภาษี (กค.1) หรือทะเบียนลูกหนี้ผู้ชำระภาษี
71. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีลูกหนี้ผู้ค้างชำระภาษีลดลงจากปีที่ผ่านมาเป็นอัตรา ร้อยละ
ตรวจสอบจากทะเบียนลูกหนี้ผู้ชำระภาษีเกี่ยวกับรายละเอียดลูกหนี้ผู้ค้างชำระปี 2561 กับปี 2562
72. การเพิ่มขึ้นโดยรวมของจำนวนเงินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ของเทศบาล หรือองค์การบริหารส่วนตำบล
รายรับจริงประกอบงบทดลอง ประจำปีงบประมาณ 2562 ของภาษี 3 เรื่อง (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย) แล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบประกอบกับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5)
73. การเพิ่มขึ้นโดยรวมของจำนวนเงิน ค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
รายรับจริงประกอบงบทดลอง ประจำปีงบประมาณ 2561 และ 2562 ของค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 แล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบ ประกอบกับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5)
74. สัดส่วนจำนวนเงินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ค่าธรรมเนียม และใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ที่จัดเก็บได้โดยรวมต่อจำนวนเงินผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีทั้งหมดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1. ในการคัดลอกข้อมูลที่ดิน อปท. จะต้อง ขอถ่ายเอกสารในสารบบที่ดิน (จำนวนเงินที่จัดเก็บได้จากรายรับจริงประกอบงบทดลอง ปีงบประมาณ 2562 กับจำนวนเงิน ผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีและค่าธรรมเนียมจากทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (กค.1) หรือทะเบียน คุมชำระภาษี (ผท.5) โดยนำมาคำนวณ เพื่อเปรียบเทียบ
หน่วยที่ ๒ การจัดทำงบประมาณ
75. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เสนอร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อสภาท้องถิ่น
1. ข้อบัญญัติ/ เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
2. รายงานการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี
3. ข้อมูลจากระบบ E-LAAS
76. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ให้สามารถใช้ทันได้ในวันที่ 1 ตุลาคม และส่งสำเนางบประมาณรายจ่ายประจำปีที่ได้รับอนุมัติให้ประกาศใช้ แล้วส่งให้ผู้กำกับดูแล และจัดทำประกาศรายงานการรับ-จ่ายเงินประจำปีงบประมาณ หลังสิ้นสุดงบประมาณ พ.ศ. 2562 ส่งให้ผู้กำกับดูแล
1. การอนุมัติและประกาศใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปี
2. หนังสือและประกาศรายงานการรับ-จ่ายเงินประจำปีงบประมาณ หลังสิ้นสุดงบประมาณ พ.ศ. 2562 ส่งให้ผู้กำกับดูแล
77. การตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง
78. การโอนงบประมาณรายจ่ายประจำปี ข้ามหมวด (ยกเว้น กรณีโอนตามนโยบายรัฐบาล และการโอนเงินเหลือจ่ายจาก การจัดซื้อ จัดจ้าง)
1. รายงานการขออนุมัติต่อผู้มีอำนาจ
2. รายงานการขออนุมัติต่อผู้มีอำนาจ
3. ประกาศและเอกสารการโอนงบประมาณรายจ่ายให้ผู้กำกับดูแล
หน่วยที่ 3 การพัสดุ
79. การตรวจรับพัสดุงานจ้างก่อสร้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้างจะต้องตรวจผลงาน ภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันที่ประธานกรรมการได้รับทราบการส่งมอบงาน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ใบจัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
3. บันทึกรายงานการประชุมสภาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการเห็นชอบการใช้จ่ายเงินสะสม
4. หนังสือส่งมอบงานของผู้รับจ้าง
5. ใบตรวจรับพัสดุของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้าง
80. การบันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างโดยผู้ควบคุมงานได้จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างตามสัญญาในวันกำหนดเริ่มงานและในวันที่กำหนดส่งมอบงานแต่ละงวด โดยได้รับงานว่าเป็นไปตามสัญญาหรือไม่ ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่รับผิดชอบบริหารสัญญาหรือข้อตกลงและการตรวจรับพัสดุที่เป็นงานจ้างก่อสร้างทราบภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันถึงกำหนดนั้นหรือไม่
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ใบจัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
3. บันทึกรายงานการประชุมสภาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการเห็นชอบการใช้จ่ายเงินสะสม
4. หนังสือส่งมอบงานของผู้รับจ้าง
5. ใบตรวจรับพัสดุของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้าง
81. การตรวจสอบพัสดุประจำปี ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตรวจสอบพัสดุคงเหลือมีตัวตนอยู่ตรงตามบัญชีหรือทะเบียนหรือไม่ มีพัสดุใดหมดความจำเป็น ให้แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุและรายงานผลการตรวจสอบต่อผู้แต่งตั้ง ภายใน 30 วันทำการ นับแต่วันเริ่มดำเนินการตรวจสอบพัสดุ
1. คำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
2. รายงานผลการตรวจสอบพัสดุประจำปี ที่ผู้บริหารท้องถิ่นได้รับทราบแล้ว
82. การประหยัดงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีการจัดซื้อจัดจ้างทุกวิธี และมีเงินเหลือจ่ายจากการจัดซื้อจัดจ้าง
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ใบจัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
3. บันทึกรายงานการประชุมสภาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการเห็นชอบการใช้จ่ายเงินสะสม
4. ฎีกาเบิกจ่ายเงิน (ให้ตรวจฎีกาจริงเท่านั้น ไม่อนุญาตให้ถ่ายเอกสาร)
83. มีการประกาศผลผู้ชนะการจัดซื้อจัดจ้างหรือผู้ได้รับการคัดเลือก และสาระสำคัญของสัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ กรณีที่ไม่ได้ดำเนินการในระบบ e-GP ประจำปีงบประมาณ 2562 ตามรายละเอียดแนบท้ายประกาศผล ผู้ชนะการจัดซื้อจัดจ้างหรือผู้ได้รับการคัดเลือก และสาระสำคัญของสัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ ดังนี้
1. ลำดับที่
2. เลขประจำตัวผู้เสียภาษี/เลขประจำตัวประชาชน
3. ชื่อผู้ประกอบการ
4. รายการพัสดุที่จัดซื้อจัดจ้าง
5. จำนวนเงินรวมที่จัดซื้อจัดจ้าง
6. เอกสารอ้างอิง
7. เหตุผลสนับสนุน
1. ประกาศผลผู้ชนะการจัดซื้อจัดจ้างหรือผู้ได้รับการคัดเลือก
2. การเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ และของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
84. กรณีงานซื้อหรือจ้างที่มีวงเงินเกินห้าแสนบาท องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ประกาศเผยแพร่ราคากลางตามแนวทางของกรมบัญชีกลางในเว็บไซต์อย่างน้อย 2 เว็บไซต์ขึ้นไปตามแบบและหลักเกณฑ์ที่กำหนด
1.ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
2. การเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ ศูนย์ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ, ของ อปท. และอื่น ๆ โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
85. การดำเนินการเกี่ยวกับราคากลาง
1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง
2. รายงานการประชุมคณะกรรมการกำหนดราคากลาง
3. เอกสารที่ได้รับการเห็นชอบราคากลางจากผู้บริหารท้องถิ่น
หน่วยที่ 4 การบริหารงบประมาณรายจ่าย การจัดทำบัญชี และรายงานการเงิน
86. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เบิกจ่ายเงินงบประมาณในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2562
1. รายงานรับ – จ่ายเงินสด ประจำเดือน กันยายน 2562
2. ทะเบียนรายรับ - รายจ่าย
3. ฎีกาเบิกจ่ายเงิน
87. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการจัดทำแผนการใช้จ่ายเงินต่อหน่วยงานคลัง ทุกไตรมาส และเบิกจ่ายเงิน 4 ประเภท (ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) เป็นไปตามแผนการ ใช้จ่ายเงิน
รายจ่ายตามรายงานรับ-จ่ายเงินสดประจำเดือน เมื่อสิ้นปีงบประมาณเปรียบเทียบกับแผน การใช้จ่าย
88. การกันเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม กรณี ยังไม่ก่อหนี้ผูกพันในหมวดครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง เป็นอัตราร้อยละของงบประมาณรายจ่ายประจำปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
1. รายงานการประชุมสภาท้องถิ่นฯ
2. บันทึกอนุมัติให้กันเงิน กรณีไม่ก่อหนี้ผูกพัน ในหมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เปรียบเทียบกับงบประมาณรายจ่ายประจำปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
89. การวางฎีกาเบิกจ่ายเงินของหน่วยงานผู้เบิกอย่างช้าไม่เกิน 5 วัน นับจากวันที่ได้ตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงานถูกต้อง
1. ใบตรวจรับพัสดุ
2. ใบตรวจรับงาน
90. การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ที่มิใช่รายจ่ายประจำ พิจารณาจากการเบิกจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
หลักฐานการเบิกจ่าย หรือสรุปรายงานการเบิกจ่ายภายในปีงบประมาณ 2562 (ไม่รวมการกันใบเหลื่อมปี)
หน่วยที่ 4 การบริหารการเงินและการบัญชี
91. การบันทึกบัญชีเป็นปัจจุบันและจัดทำรายงานการเงินประจำเดือนเสนอผู้บริหารท้องถิ่นได้ในเดือนถัดไป โดยเฉลี่ย
บันทึกเสนอรายงานการเงินประจำเดือน
92. การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1. รายงานประมาณการรายรับ-รายจ่ายจากระบบ e-LAAS ที่เมนูระบบงบประมาณ > อนุมัติเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติ
2. รายงานการโอนงบประมาณการโอนเปลี่ยนแปลง/การแก้ไข คำชี้แจงงบประมาณ จากระบบ e-LAAS ที่เมนูระบบงบประมาณ > รายงาน > การโอนเปลี่ยนแปลง/การแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณ
93. การดำเนินการรับ และบันทึกข้อมูลในระบบ e-LAAS
1. ตรวจสอบด้านรายรับจากสมุดเงินสดรับ/ทะเบียนรายรับที่บันทึกบัญชีมือ
2. นำไปเปรียบเทียบกับสมุดเงินสดรับ/ทะเบียนเงินรายรับ ที่บันทึกข้อมูลในระบบ e-LAAS ที่เมนู ระบบข้อมูลรายรับ> สมุดเงินสดรับ/ทะเบียนต่าง ๆ > สมุดเงินสดรับ/ทะเบียนเงินรายรับ
94. การดำเนินการจ่ายเงินและบันทึกข้อมูลในระบบ e-LAAS
1. ตรวจสอบด้านรายจ่ายจากสมุดเงินสดจ่าย
2. นำไปเปรียบเทียบกับสมุดเงินสดจ่ายทะเบียนต่างๆ ที่บันทึกข้อมูลในระบบ e-LAAS ที่เมนู ระบบข้อมูลรายรับ> สมุดเงินสดจ่าย/ทะเบียนต่างๆ > สมุดเงินสดจ่าย
95. การปิดบัญชีและจัดทำงบแสดงฐานะการเงินประจำปี 2562 ในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS)
1. ตรวจสอบการปิดบัญชีและการจัดทำงบแสดงฐานะการเงินประจำปี พ.ศ. 2562 ในระบบ e-LAAS ที่เมนูระบบบัญชี > รายงานงบการเงิน> รายงานประจำปี > งบแสดงฐานะการเงินและหมายเหตุประกอบ> งบแสดงฐานะการเงิน
2. ตรวจสอบหมายเหตุประกอบงบแสดงฐานะการเงินที่เมนูระบบบัญชี > รายงานงบการเงิน> รายงานประจำปี > งบแสดงฐานะการเงินและหมายเหตุประกอบ> หมายเหตุประกอบงบแสดงฐานะการเงิน
หน่วยที่ 5 บำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น
96. การส่งเงินสมทบกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ก.บ.ท.) ประจำปีงบประมาณ 2562 ครบถ้วนถูกต้องตามอัตราและระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด
1. ประมาณการรายรับตามข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2562
2. รายจ่ายบำเหน็จบำนาญฯ (ไม่อนุญาตให้ ถ่ายเอกสาร)
97. การจัดส่งเงินสมทบกองทุนบำเหน็จบำนาญส่วนท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ย้อนหลัง 5 ปี (ประจำปีงบประมาณ 2558 – 2562)
1. ประมาณการรายรับตามข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2562
2. รายจ่ายบำเหน็จบำนาญฯ (ไม่อนุญาตให้ ถ่ายเอกสาร)
หน่วยที่ 6 ผลสัมฤทธิ์การบริหารงานการเงินและการคลัง
98. การทักท้วงด้านการพัสดุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
1. ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็นลายลักษณ์อักษรของ สตง. /จังหวัด/สถ.หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. บันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปี หรือรายไตรมาสของ อปท.
99. การทักท้วงด้านการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
1. ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็นลายลักษณ์อักษรของ สตง. /จังหวัด/สถ.หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. บันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปีหรือรายไตรมาสของ อปท.
100. การทักท้วงด้านการจัดเก็บรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จากหน่วยงาน ที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
1. ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็นลายลักษณ์อักษรของ สตง. /จังหวัด/สถ.หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. บันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปีหรือรายไตรมาสของ อปท.
101. มีการทักท้วงด้านการเบิกจ่ายเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
1. ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็น ลายลักษณ์อักษรของ สตง. /จังหวัด/สถ.หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. บันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปีหรือรายไตรมาสของ อปท.
102. มีการดำเนินการตามข้อทักท้วงของหน่วยที่ตรวจสอบและดำเนินการแจ้งให้ทราบครบ ทุกเรื่อง (ด้านการงบประมาณ/พัสดุ/การเบิกจ่ายเงิน/การจัดเก็บรายได้)
1. ข้อทักท้วงและการดำเนินการตามข้อทักท้วงของ สตง./จังหวัด/บุคลากร สถ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. บันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปีหรือรายไตรมาสของ อปท.
หน่วยที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน
1. ด้านถนน ทางเดิน และทางเท้า
103. การจัดทำแผนการตรวจสอบถนนใน ความรับผิดชอบขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น
1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจำนวนถนนทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.) เพื่อทราบจำนวนถนนทั้งหมดของ อปท.
2. แผนการตรวจสอบถนนประจำปีโดยจัดลำดับการตรวจสอบตามความจำเป็น
3. บันทึกขออนุมัติแผนพัฒนาถนนท้องถิ่น
4. บันทึกรายงานผลการตรวจที่ปรากฏ ข้อสั่งการของผู้บริหารลงนามรับทราบผล การตรวจสอบ
5. แผนที่ถนน ในกรณีที่ อปท.ยังไม่มี การลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
6. ให้ตรวจสอบถนนในแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อให้สอดคล้องกับบัญชีพัฒนาถนนด้วย (ต้องตรงกันหรือใกล้เคียงกันมากที่สุด)
104. ร้อยละของการซ่อมแซม/ปรับปรุง/ต่อเติมถนน ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามรายงานผลการตรวจสอบถนนประจำปี
1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจำนวนถนน ทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.) เพื่อทราบจำนวนถนนทั้งหมดของ อปท.
2. แผนการตรวจสอบถนนประจำปี โดยจัดลำดับการตรวจสอบตามความจำเป็น ที่ปรากฏข้อสั่งการของผู้บริหารลงนามรับทราบผลการตรวจสอบและสั่งการ
3. ผลการซ่อมแซม/ปรับปรุง/ต่อเติมถนน ในความรับผิดชอบของ อปท.
4. ภาพถ่ายก่อนและหลังซ่อมแซม
105. ร้อยละของถนนในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ส่งไปขอลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่น ถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (ส่งเป็นหนังสือพร้อมเอกสารหลักฐานที่ครบถ้วนถูกต้องไปยังจังหวัด)
1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจำนวนถนนทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.)
2. หลักฐานการส่งไปลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่น (ทถ.1 , ทถ.3 , ทถ.4 , ทถ.5)
106. ร้อยละของถนนในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ได้ลงทะเบียน เป็นทางหลวงท้องถิ่น ถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจำนวน ถนนทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.)
2. หลักฐานการลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น (ทถ.1 , ทถ.3 , ทถ.4 , ทถ.5)
107. ร้อยละของความยาวถนนลาดยาง/คอนกรีตต่อความยาวของถนนทั้งหมดใน ความรับผิดชอบขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (ณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562)
1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน
2. รายงานประจำปีเกี่ยวกับการก่อสร้างถนนลาดยาง (เป็นการลาดยางทุกประเภท)/คอนกรีต
3. ภาพถ่าย
108. การจัดทำฐานข้อมูลเพื่อวิเคราะห์การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน
1. เอกสารหลักฐานการสำรวจฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน
2. เอกสารรายงานฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน
3. แผนพัฒนาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานหรือการวิเคราะห์หรือการพัฒนาท้องถิ่น
109. ร้อยละของสถานที่สาธารณะที่อยู่ในการดูแล รักษา หรือบริหารจัดการของเทศบาล ที่มีการดำเนินงานด้านอารยสถาปัตย์ (Universal Design)
1. แผนงาน/โครงการด้านอารยสถาปัตย์
2. แบบแปลน
3. ภาพถ่าย
4. รายงานผลการดำเนินงาน
5. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
หน่วยที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน
2. ด้านไฟฟ้าสาธารณะ
110. ร้อยละของถนนทุกสายอยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ และสามารถใช้งานได้
1. ข้อมูลถนนสายหลักของ อปท.
2. แบบแปลนหรือแผนผังการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะหรือสุ่มดูข้อมูลตามจุดเสี่ยง
3. หนังสือร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง
4. ภาพถ่าย
111. ร้อยละของถนนทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ และสามารถ ใช้งานได้
1. ข้อมูลถนนทุกสายของ อปท.
2. แผนงาน/โครงการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ
3. แบบแปลน/แผนผังแสดงที่ตั้งไฟฟ้าสาธารณะ
4. ภาพถ่าย
112. การดูแลบำรุงรักษา/ซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ และไฟฟ้าตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ใน ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. แผนการตรวจสอบไฟฟ้าสาธารณะ และไฟฟ้าตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.
2. บันทึกขออนุมัติแผนการตรวจสอบไฟฟ้าสาธารณะ และไฟฟ้าตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของ อปท.
3. รายงานผลการตรวจสอบไฟฟ้าสาธารณะ และไฟฟ้าตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.
หน่วยที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน
3. น้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค
113. การตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภคบริโภคขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ครบทุกระบบประปา
1. รายงานผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำประปาโดยเครื่องมือภาคสนามอย่างง่าย
2. รายงานผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำที่ได้มาตรฐานน้ำอุปโภคบริโภค จากหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ในการตรวจสอบคุณภาพน้ำ
3. ผลดำเนินการสืบเนื่องจากการตรวจสอบ
4. ภาพถ่าย
114. ร้อยละของครัวเรือนที่มีน้ำประปา ใช้และ มีปริมาณเพียงพอต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง
1. สอบถามจากประชาชนผู้ใช้น้ำประปาในหมู่บ้าน/ชุมชน อย่างน้อย 3 ราย อย่างไม่เป็นทางการ โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย
หน่วยที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน
4. การตรวจสอบอาคาร
115. การดำเนินการเกี่ยวกับอาคาร 9 ประเภท ตาม ม. 32 ทวิ พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
1. แบบบันทึกข้อมูลอาคาร 9 ประเภท
2. หนังสือแจ้งเจ้าของอาคาร 9 ประเภทให้ดำเนินการ
3. หนังสือรับรองการตรวจสภาพอาคารของเจ้าของอาคาร
4. หนังสือแจ้งจังหวัดเพื่อรายงานผล การดำเนินการ
116. การดำเนินการเกี่ยวกับอาคารที่อาจไม่เข้าข่ายอาคาร 9 ประเภท
1. คำสั่งจัดตั้งคณะทำงานดำเนินการตรวจสอบอาคารที่ไม่เข้าข่ายฯ และเป็นปัจจุบัน
2. รายงานผลการดำเนินงานตรวจสอบอาคาร ที่ไม่เข้าข่ายฯ และการสั่งแก้ไขหากพบข้อบกพร่อง
3. หนังสือรายงานผลให้จังหวัดทราบ
หน่วยที่ 2 ส่งเสริมคุณภาพชีวิต
หน่วยย่อยที่ 1 การศึกษา
117. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น
1. แผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2561 - 2565) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 - 2565)
118. คะแนนเฉลี่ยรวมการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด อปท. เฉลี่ยรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ในทุกระดับที่สอบ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยรวมของปีการศึกษาที่ผ่านมา
1. ผลคะแนนเฉลี่ยรวมการสอบ O-NET ของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด อปท. เปรียบเทียบกันระหว่าง ปีการศึกษา 2561 กับปีการศึกษา 2562
119. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีกิจกรรม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
3. ภาพถ่าย
4. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
120. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนและการดำเนินกิจกรรมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
3. ภาพถ่าย
4. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
121. การดำเนินการเพื่อจัดให้มีหรือส่งเสริมการจัดให้มีแหล่งเรียนรู้ชุมชนในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
3. ภาพถ่าย
4. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
122. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
3. ภาพถ่าย
4. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
123. มีที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน/ชุมชนที่เป็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเองและเป็นไปตามแนวทางที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.) กำหนด
1. สถานที่ตั้งของที่อ่านหนังสือ
2. ภาพถ่าย / สภาพการใช้งาน
3. เอกสารและภาพถ่ายการจัดกิจกรรม
4. แผนการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการอ่าน
5. แผนงาน/โครงการ กิจกรรมรณรงค์ฯ
6. คำสั่งแต่งตั้ง/มอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ฯลฯ
124. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินการเพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็กในสังกัดจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดประสบการณ์ปฐมวัยที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และ ที่มีการปรับปรุง/หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560
1. หลักฐานการจัดโครงการ/กิจกรรม
2. หลักฐานการส่งบุคลากรเข้าฝึกอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง
3. แผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดประสบการณ์ปฐมวัยหรือหนังสือรับรองของผู้อำนวยการ/หัวหน้าสถานศึกษาว่า ครู/ ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็กทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้/ประสบการณ์ปฐมวัย
125. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินการเพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็กในสังกัดดำเนินการจัดการเรียนรู้/จัดประสบการณ์ปฐมวัยให้สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดประสบการณ์ปฐมวัย
1. หลักฐานการดำเนินการโครงการ/กิจกรรม
2. หลักฐานส่งครู/ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็ก เข้ารับการฝึกอบรม/พัฒนา ฯลฯ
126. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนในสังกัดจัดกิจกรรม หรือโรงเรียนในสังกัดจัดกิจกรรม/ชุมนุม/หลักสูตรจัดการเรียนรู้ ตามความสามารถ ความถนัด หรือความสนใจของผู้เรียน
1. หลักสูตรสถานศึกษา
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
3. ภาพถ่าย
4. เอกสารหลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ
127. โรงเรียนในสังกัดมีการจัดการเรียนการสอนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษเรียนรวม
1. ข้อมูลนักเรียน
2. ข้อมูลการสนับสนุนอุปกรณ์ การเรียนหรืออุปกรณ์อื่น
3. หลักฐานการบรรจุ/จ้าง/คำสั่ง แต่งตั้ง ครูสอนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
4. เอกสารหลักฐานที่แสดงว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/โรงเรียนในสังกัดมีนโยบาย รับ นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ฯลฯ
128. สถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการตาม วัยของนักเรียน
1. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
2. เอกสารที่แสดงว่ามีการดำเนินการตามกิจกรรม
3. เอกสาร/หลักฐานแสดงการมีมาตรการ
4. ภาพถ่าย
129. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาในสังกัดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษา
1. บันทึกการขออนุญาตไปราชการเพื่อเข้ารับการฝึกอบรม เกี่ยวกับประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา หรือหลักฐานอื่นที่เข้าร่วมการฝึกอบรม
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
3. แผนการติดตาม/รายงานผลการติดตามที่เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
4. รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) รายงานการตรวจสอบรายงานผลการประเมินตนเอง(SAR) ของสถานศึกษาที่ผู้รับผิดชอบ
5. เสนอผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือเอกสารหลักฐานอื่นที่แสดงเห็นว่ารายงานฯ (SAR) ได้รับการตรวจสอบจากต้นสังกัด
หน่วยที่ 2 ส่งเสริมคุณภาพชีวิต
หน่วยย่อยที่ 2 สาธารณสุข
130. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้ทำหน้าที่ดูแลสุขภาพในหมู่บ้าน/ชุมชน
1. แผนพัฒนาสุขภาพหรือแผนงานสาธารณสุข
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
3. กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
4. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่จัดกิจกรรม
5. รายงานผลการดำเนินการเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อรับทราบ
131. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนใน การส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค
1. แผนงานสาธารณสุข (e-LAAS)
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
3. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่ จัดกิจกรรม
4. รายงานผลการดำเนินการเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อรับทราบ
132. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรคต่าง ๆ รวมถึงการเตรียม ความพร้อมการรับมือโรคติดต่อโรคอุบัติใหม่ให้แก่ประชาชน (ไม่ใช่การให้ความรู้)
1. แผนงานสาธารณสุข (e-LAAS)
2. ภาพถ่ายกิจกรรม (ไม่ใช่กิจกรรมเฉพาะบุคคล)
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
4. รายงานผลการดำเนินการ เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อรับทราบ
133. การบริหารจัดการการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในท้องถิ่น
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงานด้านเศรษฐกิจ (e-LAAS)
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
4. เอกสารหรือฐานข้อมูล Rabies One Data
5. วัสดุ อุปกรณ์ ในระบบลูกโซ่ความเย็น เช่น ตู้เย็นเก็บวัคซีน เทอร์โมมิเตอร์ กระติก กล่องโฟม Ice pack Data Logger
134. จำนวนหน่วยบริการสาธารณสุขที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนในการดูแลสุขภาพประชาชน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงานสาธารณสุข (e-LAAS)
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
5. หนังสือขอรับการสนับสนุน
135. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการสุขาภิบาล อาหาร และด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค
1. เอกสารการสมัครเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม
2. เอกสารการประเมินตนเองตามแบบมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.
3. เอกสารแบบประเมินมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.แต่ละด้านที่มีการลงลายมือชื่อจากคณะกรรมการ
4. เอกสารสรุปผลการประเมินมาตรฐานคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.ที่มีการลงลายมือชื่อจากคณะกรรมการ
136. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการจัดการ สิ่งปฏิกูลและด้านการจัดการ มูลฝอย
1. เอกสารการสมัครเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม
2. เอกสารการประเมินตนเองตามแบบมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.
3. เอกสารแบบประเมินมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.แต่ละด้านที่มีการลงลายมือชื่อจากคณะกรรมการ
4. เอกสารสรุปผลการประเมินมาตรฐานคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.ที่มีกาลงลายมือชื่อจากคณะกรรมการ
หน่วยที่ 2 ส่งเสริมคุณภาพชีวิต
หน่วยย่อยที่ 3 ส่งเสริมสตรีและครอบครัว
137. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนเพื่อการพัฒนาสตรี ในพื้นที่
1. โครงการกิจกรรมของ อปท.
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
3. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ฯ
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
138. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนเพื่อส่งเสริมความรัก และความอบอุ่นในครอบครัว
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการที่มีการดำเนินการจริง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
หน่วยที่ 2 ส่งเสริมคุณภาพชีวิต
หน่วยย่อยที่ 4 ส่งเสริมและพัฒนาคนพิการและผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง
139. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการ (นอกเหนือจากการจ่ายเบี้ยความพิการ)
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการที่มีการดำเนินการจริงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
140. จำนวนครั้งที่เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล สามารถดำเนินการจ่ายเบี้ยความพิการได้ครบถ้วนถูกต้องตามประกาศเทศบาล/อบต. เรื่องบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิรับเงินเบี้ยความพิการของเทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน
1. หลักฐานการจ่ายเงินเบี้ยความพิการ ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน ตามระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยความพิการ ให้คนพิการของ อปท. พ.ศ. 2553 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562
2. การโอนเข้าบัญชีธนาคาร (กรณีรับผ่านบัญชีธนาคาร)
3. หลักฐานการจ่ายเงิน/รับเงิน (กรณีรับเงินสด)
141. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อพัฒนาผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง (ยกเว้นคนเร่ร่อนและขอทาน)
1. ข้อมูลผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง จากหน่วยงานราชการต่าง ๆ หรือองค์กรภาคประชาสังคม ต่าง ๆ
2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. โครงการที่มีการดำเนินการจริง
4. รายงานผลการดำเนินการ ต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
5. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
132. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรคต่าง ๆ รวมถึงการเตรียม ความพร้อมการรับมือโรคติดต่อโรคอุบัติใหม่ให้แก่ประชาชน (ไม่ใช่การให้ความรู้)
1. แผนงานสาธารณสุข (e-LAAS)
2. ภาพถ่ายกิจกรรม (ไม่ใช่กิจกรรมเฉพาะบุคคล)/p>
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
4. รายงานผลการดำเนินการ เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อรับทราบ
133. การบริหารจัดการการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในท้องถิ่น
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงานด้านเศรษฐกิจ (e-LAAS)
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
4. เอกสารหรือฐานข้อมูล Rabies One Data
5. วัสดุ อุปกรณ์ ในระบบลูกโซ่ความเย็น เช่น ตู้เย็นเก็บวัคซีน เทอร์โมมิเตอร์ กระติก กล่องโฟม Ice pack Data Logger
134. จำนวนหน่วยบริการสาธารณสุขที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนในการดูแลสุขภาพประชาชน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงานสาธารณสุข (e-LAAS)
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2561
5. หนังสือขอรับการสนับสนุน
135. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการสุขาภิบาล อาหาร และด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค
1. เอกสารการสมัครเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม
2. เอกสารการประเมินตนเองตามแบบมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.
3. เอกสารแบบประเมินมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.แต่ละด้านที่มีการลงลายมือชื่อจากคณะกรรมการ
4. เอกสารสรุปผลการประเมินมาตรฐานคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.ที่มีการลงลายมือชื่อจากคณะกรรมการ
136. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการจัดการ สิ่งปฏิกูลและด้านการจัดการ มูลฝอย
1. เอกสารการสมัครเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม
2. เอกสารการประเมินตนเองตามแบบมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.
3. เอกสารแบบประเมินมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.แต่ละด้านที่มีการลงลายมือชื่อจากคณะกรรมการ
4. เอกสารสรุปผลการประเมินมาตรฐานคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.ที่มีกาลงลายมือชื่อจากคณะกรรมการ
หน่วยที่ 2 ส่งเสริมคุณภาพชีวิต
หน่วยย่อยที่ 3 ส่งเสริมสตรีและครอบครัว
137. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนเพื่อการพัฒนาสตรี ในพื้นที่
1. โครงการกิจกรรมของ อปท.
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
3. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ฯ
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
138. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนเพื่อส่งเสริมความรัก และความอบอุ่นในครอบครัว
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการที่มีการดำเนินการจริง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
หน่วยที่ 2 ส่งเสริมคุณภาพชีวิต
หน่วยย่อยที่ 4 ส่งเสริมและพัฒนาคนพิการและผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง
139. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการ (นอกเหนือจากการจ่ายเบี้ยความพิการ)
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการที่มีการดำเนินการจริงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท.โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
140. จำนวนครั้งที่เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล สามารถดำเนินการจ่ายเบี้ยความพิการได้ครบถ้วนถูกต้องตามประกาศเทศบาล/อบต. เรื่องบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิรับเงินเบี้ยความพิการของเทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน
1. หลักฐานการจ่ายเงินเบี้ยความพิการ ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน ตามระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยความพิการ ให้คนพิการของ อปท. พ.ศ. 2553 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562
2. การโอนเข้าบัญชีธนาคาร (กรณีรับผ่านบัญชีธนาคาร)
3. หลักฐานการจ่ายเงิน/รับเงิน (กรณีรับเงินสด)
141. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อพัฒนาผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง (ยกเว้นคนเร่ร่อนและขอทาน)
1. ข้อมูลผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง จากหน่วยงานราชการต่าง ๆ หรือองค์กรภาคประชาสังคม ต่าง ๆ
2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3. โครงการที่มีการดำเนินการจริง
4. รายงานผลการดำเนินการ ต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
5. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
หน่วยที่ 3 การวางแผนการส่งเสริมการลงทุนพาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว
หน่วยย่อยที่ 2 ส่งเสริมการท่องเที่ยว
152. การสนับสนุนหรือจัดให้มีสิ่งอำนวย ความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยว
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. โครงการ/กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
3. รายงานผลการดำเนินการ เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
153. สนับสนุนหรือจัดให้มีการโฆษณา/ประชาสัมพันธ์ให้แก่นักท่องเที่ยว
1. ศูนย์ข้อมูลสำหรับนักท่องเที่ยว
2. แผนส่งเสริมการท่องเที่ยว
3. หลักฐานการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ของ อปท.
4. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
5. รายงานประจำปี
6. ภาพถ่ายกิจกรรม
7. ผลการสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว
154. การจัดทำฐานข้อมูลตลาด
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงานด้านเศรษฐกิจ (e-LAAS)
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
4. รายงานผลการดำเนินการเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อรับทราบ
155. จำนวนกิจกรรมในการส่งเสริมการดำเนินกิจการของตลาด
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงานด้านเศรษฐกิจ (e-LAAS)
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
4. กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากงบประมาณของ อปท.หรือเงินอุดหนุนจากหน่วยงานอื่นของรัฐหรือเอกชนเป็นผู้สนับสนุน
5. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่จัดกิจกรรม
6. รายงานผลการดำเนินการเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อรับทราบ
156. การพัฒนาเพื่อยกระดับตลาดที่อยู่ในสังกัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ได้มาตรฐาน ใน 7 ด้าน
1. แนวทางในการติดตามและตรวจสภาพตลาด
2. รายงานผลการดำเนินการต่อผู้บริหาร
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
4. กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากงบประมาณของ อปท.หรือเงินอุดหนุนจากหน่วยงานอื่นของรัฐหรือเอกชนเป็นผู้สนับสนุน
หน่วยที่ 4 ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และภูมิปัญญาท้องถิ่น
หน่วยย่อยที่ 1 ส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม และศาสนา
157. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม และศาสนา
1. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
2. ภาพถ่าย
3. หนังสือเชิญเข้าร่วมกิจกรรม
4. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง
5. รายงานผลการดำเนินการ
หน่วยที่ 4 ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และภูมิปัญญาท้องถิ่น
หน่วยย่อยที่ 2 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
158. การจัดทำฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. แผนงาน/โครงการในการจัดทำฐานข้อมูล
2. ช่องทางการประชาสัมพันธ์ลงในเว็บไซต์ของ อปท.
159. จำนวนกิจกรรมเพื่อการอนุรักษ์และส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
2. ภาพถ่าย
3. หนังสือเชิญเข้าร่วมกิจกรรม
4. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
5. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
หน่วยที่ 5 การจัดระเบียบชุมชน และรักษาความสงบเรียบร้อย
หน่วยย่อยที่ 1 การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
160. การจัดทำและดำเนินงานตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. แผนงาน/โครงการในการจัดทำแผนฯ
2. ฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยที่เคยเกิด และภัย ที่เกิดซ้ำในพื้นที่
3. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อปท.
4. แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมในการดำเนินการตามแผนฯ
5. เอกสารหลักฐานการตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันภัย
6. ภาพถ่าย
7. ระบบการแจ้งเตือนสามารถใช้งานได้
8. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
161. จำนวนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับ สาธารณภัยและป้องกันภัยแก่ประชาชน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ
3. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
4. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
5. ภาพถ่าย
6. การเผยแพร่ทางสื่อต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ แผ่นพับ เป็นต้น
7. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
162. จำนวนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับสาธารณภัยและป้องกันภัยแก่เจ้าหน้าที่ป้องกันบรรเทาสาธารณภัย หรืออาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
1. แผนงาน/โครงการ
2. ภาพถ่าย
3. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
4. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
5. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2562
6. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
7. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
163. จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อป้องกันและดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
1. แผนงาน/โครงการ การป้องกันและดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
2. ภาพถ่ายกิจกรรม
3. รายงานผลการดำเนินการด้านการป้องกันและดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
4. หลักฐานการร่วมงานกับหน่วยงานอื่น
5. สถิติเรื่องร้องเรียน
164. จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิดอัคคีภัยนอกเหนือไปจากการให้ความรู้
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ
3. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
4. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
5. ภาพถ่าย
6. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
7. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2562
8. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
165. จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการ เพื่อป้องกันภัยทางถนนแก่ประชาชนนอกเหนือจากการให้ความรู้
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ
3. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
4. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
5. ภาพถ่าย
6. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง
7. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2562
8. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
หน่วยที่ 5 การจัดระเบียบชุมชน และรักษาความสงบเรียบร้อย
หน่วยย่อยที่ 2 ส่งเสริมประชาธิปไตยในชุมชน
166. จำนวนกิจกรรมเพื่อการส่งเสริมประชาธิปไตยในชุมชน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. แผนงาน/โครงการ
3. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
4. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
5. ภาพถ่าย
6. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
7. ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี 2562
หน่วยที่ 5 การจัดระเบียบชุมชน และรักษาความสงบเรียบร้อย
หน่วยย่อยที่ 3 ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
167. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่
1. ข้อมูลการประสานหน่วยงานอื่น เช่น ที่ทำการปกครองอำเภอ/ จังหวัด สาธารณสุขอำเภอ/จังหวัด สถานีตำรวจในพื้นที่ ฯลฯ
2. สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น ป้าย แผ่นพับ วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เว็บไซต์ ภาพถ่าย วารสาร แผ่นพับ ใบปลิว จดหมายข่าว ฯลฯ
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่แสดงถึงการส่งเสริมบำบัดฟื้นฟูผู้ติด/ผู้เสพยา หรือการฝึกอบรม
หน่วยที่ 6 การบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
หน่วยย่อยที่ 1 ทรัพยากรธรรมชาติ
168. จำนวนกิจกรรมเพื่อให้ความรู้ประชาชนในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี)
3. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น (ถ้ามี)
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
169. จำนวนกิจกรรมเพื่อการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(นอกเหนือจากการให้ความรู้ประชาชน)
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี)
3. ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี)
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
170. การกำจัดผักตบชวาและวัชพืชในแหล่งน้ำสาธารณะ
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น (ถ้ามี)
3. หนังสือขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น(ถ้ามี)
4. แบบรายงานแผนปฏิบัติการกำจัดผักตบชวาและผลการปฏิบัติงานกำจัดผักตบชวาและวัชพืชในแหล่งน้ำสาธารณะและเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ กรณีตัดฐานการประเมินจะต้องมีหนังสือถึงจังหวัดหรืออำเภอให้ตรวจสอบด้วย (หนังสือฉบับจริง)
หน่วยที่ 6 การบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
หน่วยย่อยที่ 2 น้ำเสีย
171. เทศบาลออกเทศบัญญัติควบคุมให้อาคาร หมู่บ้านจัดสรร บ้านเรือน ที่พักอาศัย ติดตั้ง บ่อดักไขมันและระบบน้ำเสียเฉพาะพื้นที่ หรือระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน
1. เทศบัญญัติ ที่ควบคุมให้อาคาร หมู่บ้านจัดสรร บ้านเรือน ที่พักอาศัย ติดตั้งบ่อดักไขมัน และระบบน้ำเสียเฉพาะพื้นที่ หรือระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน
172. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทำฐานข้อมูลสภาพปัญหาน้ำเสียในพื้นที่
1. บันทึก/รายงานผลการสำรวจสภาพปัญหาน้ำเสียในพื้นที่
2. แบบบันทึกข้อมูล หรือ รายงานด้านน้ำเสียตามมาตรา 80 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
173. จำนวนกิจกรรมส่งเสริมความรู้แก่ประชาชน เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำในหมู่บ้าน/ชุมชน การใช้น้ำอย่างประหยัด และการจัดการ น้ำเสียในหมู่บ้าน/ชุมชน
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี)
3. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น (ถ้ามี)
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
174. จำนวนกิจกรรมเพื่อดำเนินการฟื้นฟูและบำบัดน้ำเสียครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน นอกเหนือไปจากการให้ความรู้
1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี)
3. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น (ถ้ามี)
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
หน่วยที่ 6 การบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
หน่วยย่อยที่ 3 ขยะ
175. เทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติท้องถิ่น และ แผนพัฒนาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
1. แผนพัฒนาท้องถิ่น
2. เทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติท้องถิ่น
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
176. จำนวนโครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการลดและการคัดแยกขยะมูลฝอยจากต้นทางตามหลักการ 3Rs (Reduce, Reuse, Recycle) ที่ดำเนินการเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน
ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
2. ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี)
3. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น (ถ้ามี)
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
177. มีการจัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) หรือเครือข่ายอาสาสมัครอื่น เพื่อขับเคลื่อนการจัดการเรื่องขยะมูลฝอย
1. เอกสารแสดงหลักฐานการจัดตั้งกลุ่ม/เครือข่าย
2. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
178. การจัดทำฐานข้อมูลการบริหารจัดการ ขยะมูลฝอย
1. ฐานข้อมูลขยะมูลฝอยที่เป็นปัจจุบัน
2. ตรวจสอบข้อมูลจากระบบสารสนเทศ มฝ.1 มฝ.2 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
179. ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน มีจุดรวมขยะอันตรายชุมชน เมื่อคำนวณเปรียบเทียบกับร้อยละจำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. รายงานข้อมูลจุดรวมขยะอันตรายหมู่บ้าน/ชุมชน
2. ภาพถ่าย
180. หมู่บ้าน/ชุมชน ที่สามารถเป็นหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขตพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. ข้อมูลหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบภายใน อปท. เทียบกับ จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนทั้งหมดภายใน อปท.
181. จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการ ขยะมูลฝอยในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. รายงานผลการดำเนินงานของแหล่งเรียนรู้
2. จำนวนผู้เข้าไปใช้ประโยชน์ในแหล่งเรียนรู้
3. ภาพถ่าย
4. ให้สุ่มตรวจแหล่งเรียนรู้จริงอย่างน้อย 1 แห่ง
หน่วยที่ 6 การบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
หน่วยย่อยที่ 4 สิ่งแวดล้อมยั่งยืน
182. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พัฒนา และเพิ่มพื้นที่สีเขียว
1. แผนงาน/โครงการ
2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. รายงานประจำปี
5. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
6. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
7. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
8. ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
9. สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ
183. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อการจัดการคุณภาพอากาศ
1. แผนงาน/โครงการ
2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. รายงานประจำปี
5. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
6. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
7. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
8. ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
9. สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ
184. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อส่งเสริมการผลิต การบริโภค และการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
1. แผนงาน/โครงการ
2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
5. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
6. หนังสือเชิญเข้าร่วมกิจกรรม
7. ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
8. งบประมาณในการจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว
9. จำนวนครั้งหรือร้อยละในการใช้บริการจ้างเหมาที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสิ่งแวดล้อม
10. จำนวนการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่ผลิตในพื้นที่
11. หลักฐานแสดงการรับรองมาตรฐานสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
185. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
1. แผนงาน/โครงการ
2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ
3. ภาพถ่ายกิจกรรม
4. รายงานประจำปี
5. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
7. ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
8. สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ
9. รายงานข้อมูลแสดงแนวโน้มการประหยัดไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง (ย้อนหลัง) ในพื้นที่ อปท. และสำนักงาน อปท.
10. จำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมกิจกรรมลดการใช้พลังงานหรือเปลี่ยนมาใช้พลังงานทดแทน
11. งบประมาณค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิง (ย้อนหลัง) ในสำนักงาน อปท.
12. จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน
หน่วยที่ 6 การบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
หน่วยย่อยที่ 5 ก๊าซเรือนกระจก
186. แผนการดำเนินงาน/นโยบาย เกี่ยวกับการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
1. แผนการดำเนินงาน/นโยบาย เกี่ยวกับการบริหารการจัดก๊าซเรือนกระจก
2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
4. ให้สุ่มตรวจแหล่งเรียนรู้จริงอย่างน้อย 1 แห่ง
187. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำรายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่
1. รายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่ ตามคู่มือการจัดทำข้อมูลก๊าซเรือนกระจกขององค์การบริหารจัดการก๊าซกระจก (องค์การมหาชน)
2. ช่องทางการเผยแพร่ผลการดำเนินการ
ด้านที่ 5 ด้านธรรมาภิบาล
หน่วยที่ 1 นโยบายและการจัดกิจกรรม
188. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำแผน/แนวทางเพื่อการป้องกันและปราบปราม การทุจริตหรือการส่งเสริมความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. แผน/แนวทางเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริตหรือการส่งเสริมความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ของ อปท. โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
189. กิจกรรมการบริหารราชการเพื่อป้องกัน การทุจริต
1. แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
2. การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparence Assessment : ITA)
3. เอกสาร รายการที่แสดงให้เห็นถึงการดำเนินการจริงในเชิงประจักษ์
190. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เข้าร่วมการประกวดเพื่อรับรางวัล ด้านธรรมมาภิบาล และการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีด้านคุณธรรม จริยธรรม ความโปร่งใสและ การมีส่วนร่วมจากหน่วยงานต่าง ๆ
1. แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
2. การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparence Assessment : ITA)
3. เอกสาร รายการที่แสดงให้เห็นถึงการดำเนินการจริงในเชิงประจักษ์
191. การส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
1. คำสั่ง/ประกาศจัดตั้งศูนย์ฯ พร้อมแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ ที่เป็นปัจจุบัน
2. เอกสารที่เผยแพร่ในศูนย์ฯ ประกอบด้วยกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภท กฎหมายกระจายอำนาจ แผนพัฒนาท้องถิ่น งบประมาณรายจ่ายประจำปี/เพิ่มเติม งบประมาณรายจ่ายอื่น ๆ และรายงาน การประชุมสภาท้องถิ่น
3. สถิติผู้มารับบริการศูนย์ข้อมูลข่าวสาร และสรุปผลเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
4. หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการรับฟังความคิดเห็นการรับและตอบสนองเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ของประชาชน
5. หลักฐานที่มีการแสดงให้เห็นถึงการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมบริหารกิจการของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
192. การเสริมสร้างและปรับปรุงกลไกในการตรวจสอบการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. รายงานระดับหน่วยงานของรัฐ ตามแบบ ปค.1 แบบ ปค. 4 แบบ ปค. 5 และแบบ ปค. 6 พร้อมหนังสือนำส่งรายงานให้ ผู้กำกับดูแล
2. เอกสารที่แสดงให้เห็นถึงการให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการปฏิบัติราชการและการประชุมสภาท้องถิ่น
3. เอกสารที่แสดงหรือข้อเท็จจริงที่แสดงได้หรือเห็นถึงการมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
4. รายงานการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ : ITA ปี 2562
หน่วยที่ 3 การมีระบบ/กลไกจัดการกับเรื่องร้องเรียน
193. การมีระบบ/กลไกจัดการกับเรื่องร้องเรียน
1. คำสั่งกำหนดหน่วยงาน/มอบหมายผู้รับผิดชอบโดยตรงในการดำเนินการต่อเรื่องร้องเรียน
2. ช่องทางการร้องเรียน
3. เอกสาร/หลักฐานการประชาสัมพันธ์
4. เอกสาร/หลักฐานการส่งเรื่องร้องเรียนให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการ พร้อมผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน
194. มาตรการภายในเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. มีแผนปฏิบัติการตามตัวชี้วัด ITA ตัวชี้วัดที่ 10.1 การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรและตัวชี้วัดย่อย 10.2 มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
2. มีการกำหนดขั้นตอน วิธีการ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรื่องร้องเรียน หรือการทุจริต
3. มีการกำหนดขั้นตอน วิธีการที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบการปฏิบัติงาน
4. เอกสาร รายการที่แสดงให้เห็นถึงการดำเนินการจริงในเชิงประจักษ์